ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.เบญจวรรณ ยันต์วิเศษภักดี

สังกัด  สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โทรศัพท์ -

โทรสาร -

Email:  Benjawan.ya@skru.ac.th

 

 



การศึกษา

วิทยาศาสตรดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559

(Ph. D. (Botany), Department of Botany, Faculty of Science, Chulalongkorn University: Characterization of Aureobasidium spp. isolated from Thai coastal area)

ปริญญาโท

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546

(M.Sc. (Botany), Department of Botany, Faculty of Science, Chulalongkorn University: Production of lignin peroxidase enzyme from some white-rot fungi)

ปริญญาตรี  

วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา), มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2542

(B.Sc. (Biology), Department of Biology, Faculty of Science, Songkhlanakarin University: Origin of callus in rice seed (Oryza sativa Linn.))

 

ประวัติการทำงาน

2559 ปัจจุบัน     หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

2548 - 2552        โปรแกรมชีววิทยาและชีววิทยาประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา


ประสบการณ์การทำงานอื่น ๆ

-        รองประธานอนุกรรมการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช (อพ.สธ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

-        ผู้เชี่ยวชาญบริการให้คำปรึกษาคลินิกเทคโนโลยี  

-        ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP

-        ที่ปรึกษาโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

 

ความเชี่ยวชาญและสาขาที่ทำงานวิจัย

-        การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (Plant Tissue Culture

-        การใช้ประโยชน์พืชด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ (Plant Utilization with Biotechnology)


ผลงานวิชาการ

       ช่อทิพย์ คงชุม, รัญชนา สีคงแก้ว, และเบญจวรรณ ยันต์วิเศษภักดี. (2565)  ผลของ 2, 4-D ต่อการชักนำแคลลัสในเมล็ดข้าวเฉี้ยงพัทลุง (Oryza sativa L.) 
         รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่
7 (น. 224-229).       
         คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 

       นภัทสรณ์  สังเมือง, นูรอานีส  บาเหม, และเบญจวรรณ ยันต์วิเศษภักดี. (2565). ฤทธิ์ต้านทานแบคทีเรียของสารสกัดหยาบจากหญ้าตีนกา (Eleusine       
         indica
(L.) Gaertn.). 
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่
         7 (น. 210-217). คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 

       Khan, S. A., Akbar, A., Permpornsakul, P., Yanwisetpakdee, B., Chen, X., Anwar, M., & Ali, I. (2020). Molecular diversity of halophilic
         fungi isolated from mangroves ecosystem of miani hor, balochistan, pakistan. Pak J Bot52(5), 1823-1829.

       Ali, F. S., Akbar, A., Prasongsuk, S., Permpornsakul, P., Yanwisetpakdee, B., Lotrakul, P., ... & Ali, I. (2018). Penicillium imranianum, a     
         new species from the man-made solar saltern of Phetchaburi province, Thailand. Pakistan Journal of Botany50(5), 2055-
         2058.

       เบญจวรรณ ยันต์วิเศษภักดี จารุวรรณ ชูเชิด และ ฐิติรัตน์ ทองอุ่น. ฤทธิ์ต้านทานแบคทีเรียของพอลิแซ็กคาไรด์ที่สกัดจากเปลือกหุ้มเมล็ดส้มโอ (Citrus     
         maxima
 (Burm.F.) Merr.) 2561. ในการประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน ครั้งที่ 2 “สู่นวัตกรรมและความยั่งยืน รากฐานการพัฒนา
         พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน
” ระหว่างวันที่ 3-5 เดือน เมษายน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย

       Ali, I., Akbar, A., Aslam, M., Ullah, S., Anwar, M., Punnapayak, H., ... & Rakshit, S. K. (2016). Comparative study of physical factors and
         microbial diversity of four man-made extreme ecosystems. Proceedings of the National Academy of Sciences, India Section
         B: Biological Sciences
86, 767-778.

       Yanwisetpakdee, B., Lotrakul, P., Prasongsuk, S., Seelanan, T., White, J. F., Eveleigh, D. E., ... & Punnapayak, H. (2016). Associations     
         among halotolerance, osmotolerance and exopolysaccharide production of Aureobasidium melanogenum strains from
         habitats under salt stress. Pak J Bot48(3), 1229-1239.

       Ali, I., Akbar, A., Yanwisetpakdee, B., Prasongsuk, S., Lotrakul, P., & Punnapayak, H. (2014). Purification, characterization, and potential
         of saline waste water remediation of a polyextremophilic
α-amylase from an obligate halophilic Aspergillus gracilisBioMed
         research international
2014.

       Ali, I., Akbar, A., Anwar, M., Yanwisetpakdee, B., Prasongsuk, S., Lotrakul, P., & Punnapayak, H. (2014). Purification and characterization
         of extracellular, polyextremophilic
α-amylase obtained from halophilic Engyodontium albumIranian Journal of
         Biotechnology
12(4), 35-40.

       Liawsakul, P., Yanwisetpakdee, B., Wattanapreechanon, K., Kuhirun, M., & Punnapayak, H. (2002). Properties of oil extracted from    
         Jatropha curcas Linn. seeds. In 28. Congress on science and technology of Thailand, Bangkok (Thailand), 24-26 Oct 2002.

       Yanvisadepakdee, B., Meesawat, U., & Kanchanapoom, K. (2000). Histology of callus formation in rice (Oryza sativa L.) seed culture. 
         Songklanakarin Journal of Science and Technology22, 1-6.

0894642827
info@example.com
Youtube Channal
Facebook Messenger

เกี่ยวกับหลักสูตร


ช่องทางการติดต่อ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 160 หมู่ 4 ถนนกาญจนวนิช
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ 90000
เลขประจำตัวผู้เสียภาษี : 0-9940-00580-00-2
Phone: 0-7426-0200-4 Fax: 0-7426-0230 
Email: saraban@skru.ac.th
Support Browser : IE9 , IE10 , Chrome , FireFox