ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.นุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง

           สังกัด สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

           โทรศัพท์ 074-260200-4 ต่อ 1907

           โทรสาร -

           Email: nutjarin.pe@skru.ac.th

 

ประวัติการศึกษา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นิเวศวิทยา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2545

วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2542

 

ประวัติการทำงาน

2547 - ปัจจุบัน  สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

2542 - 2543    สถานีวิจัยสัตว์ป่าโตนงาช้าง จ.สงขลา

 

ความเชี่ยวชาญและสาขาที่ทำงานวิจัย

นิเวศวิทยา สัตววิทยา และปักษีวิทยา

 

ผลงานวิชาการ

 

ณัฐฌาชิตา ชูเกิด, ศศิธร บุญเดช, สุธินี หีมยิ และนุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง. (2564). ความแปรผันทางสัณฐานวิทยาของหอยเสียบ (Donax faba Gmelin, 1791) และปัจจัยสิ่งแวดล้อมบางประการบริเวณหาดบางหอยและหาดบางเรือนาค จังหวัดสงขลา. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 49(4), 351-361.

วรากร เพชรเกลี้ยง, วรรณวิมล ยินดี และนุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง. (2564). ประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมจ่ายเลือดด้วยบาร์โค้ดในหน่วยคลังเลือดและ เวชศาสตร์บริการโลหิต โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. วารสารโลหิตวิทยาและเวชศาสตร์บริการโลหิต. 31, 315-325.

สกุลทิพย์ ขาวทอง, สรนันท์ อุคำ และ นุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง. (2564). ลักษณะแหล่งอาศัยตามธรรมชาติของเต่ากระอาน  Batagur affinis (Cantor,1847) บริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับวิถีชีวิตใหม่ เพื่อความยั่งยืน. 1-2 เมษายน 2564. (หน้า 1301-1310). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

นุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง, สุธินี หีมยิ, แฟนฉัน คงสม และวรรณิศา ปลอดขำ. (2564). นกชายเลนและ ความหนาแน่นของสัตว์หน้าดินทะเลบริเวณชายฝั่ง อำเภอละงู จังหวัดสตูล. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม. 26 มีนาคม 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. 15 หน้า, 146-160.

นุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง, สุธินี หีมยิ และ อรัญญา กายแก้ว. (2564). ความหลากหลายของมอลลัสก์ บริเวณชายฝั่ง อำเภอละงู จังหวัดสตูล. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม. 26 มีนาคม 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. 12 หน้า, 235-246.

ธนัญญา แขกพงศ์, รณิชชา รักบุรี และนุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง. (2563). การเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื่อตับของปลาตะกรับ Spotted Scat (Scatophagus argus) บริเวณปากคลองอู่ตะเภาและปากคลองนาทับในจังหวัดสงขลา. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 5 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อสังคม. 6-7 กุมภาพันธ์ 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 10 หน้า, 1651-1661.

มารีนา ดือราแม, มาลิณี มูดอ และนุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง. (2562). ความหลากชนิดของนกกินผลไม้ พืชอาหาร และประสิทธิภาพการงอกของเมล็ดที่ผ่านทางเดินอาหารของนกในพื้นที่สวนสัตว์สงขลา. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 4 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อบูรณาการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน”. 7-8 กุมภาพันธ์ 2562. (หน้า 1063-1076). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

อามานี ล่าบุรี, อารียา หมุดกะเหล็ม และนุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง. (2562). Predation Network และบทบาทของสัตว์กินแมลงในสวนผลไม้แบบผสมผสาน ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายภาคใต้ ครั้งที่ 4 “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อบูรณาการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน”. 7-8 กุมภาพันธ์ 2562. (หน้า 1085-1099). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

Petkliang, N., Gale, G.A. Brunton, D.H. and Bumrungsri, S. (2018). Geographical variation in breeding chronology of Germain’s Swiftlet (Aerodramus inexpectatus germani) in southern Thailand. Pacific Conservation Biology. 25(2) 174-183.

ขวัญนภา เจ๊ะสัน, เจ๊ะอัยนาฮ์ เหมรา และ นุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง. (2561). การเปลี่ยนแปลงทางเนื้อเยื่อวิทยาจากการสะสมสารปนเปื้อนในตับของปลากดหัวแข็ง (Arius maculatus Thunberg, 1792) บริเวณทะเลสาบสงขลาตอนล่าง. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 “การบูรณาการภูมิปัญญาสู่นวัตกรรมและการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน”. 20 ธันวาคม 2561. (หน้า 1193-1203). ภูเก็ต : มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

ดรุณี สามะ อัสมา ดอหล๊ะ และนุชจรินทร์ เพชรเกลี้ยง. (2561). Pollination network และ

ความสำคัญของสัตว์ตัวช่วยผสมเกสรต่อการติดผลของลำไย (Dimocarpus longan Lour.) ที่ปลูกในสวนผลไม้แบบผสมผสานในจังหวัดสงขลา. รายงานสืบเนื่องงานประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 12. สานพลังเครือข่ายอุดศึกษา เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”. 27-31 พฤษภาคม 2561 โรงแรมธรรมรินทร์ธนา จ.ตรัง.

Petkliang, N. Gale, G.A. Brunton, D.H. and Bumrungsri, S. (2017). Wetland, forest and open paddy land are the key foraging habitats for Germain's swiftlet (Aerodramus inexpectatus germani) in southern Thailand. Tropical Conservation Science. 10, 1-12.

Sungyoun (Petkliang), N. and Meeswat, K. (2004). The Study of Bird Diversity in Forest Edge and Natural Forest at Ton Nga Chang Wildlife Sanctuary, Songkhla Province, Southern Thailand. Journal of Bioscience. 15(2), 39-59. (Recently rename to Tropical Life Sciences Research Journal)

0894642827
info@example.com
Youtube Channal
Facebook Messenger

เกี่ยวกับหลักสูตร


ช่องทางการติดต่อ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 160 หมู่ 4 ถนนกาญจนวนิช
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ 90000
เลขประจำตัวผู้เสียภาษี : 0-9940-00580-00-2
Phone: 0-7426-0200-4 Fax: 0-7426-0230 
Email: saraban@skru.ac.th
Support Browser : IE9 , IE10 , Chrome , FireFox